เสียงในภาษาไทย - เสียงดนตรี (เสียงวรรณยุกต์)
เสียงดนตรี คือ เสียงสูงต่ำ ในภาษาไทยเสียงวรรณยุกต์ต่างกันให้ความหมายของคำต่างกัน เสียงดนตรี มี 5 หน่วยเสียง โดยทั้ง 5 หน่วยเสียง แบ่งตามลักษณะของเสียงออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1. หน่วยเสียงวรรณยุกต์ระดับ คือ เสียงวรรณยุกต์อยู่ในระเดียวตลอด มี 3 หน่วยเสียง คือ สามัญ เอก ตรี
2. หน่วยเสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ คือ เสียงวรรณยุกต์ที่ตอนท้ายเสียงจะมีระดับสูงหรือต่ำก็ได้ มี 2 หน่วยเสียง คือ โท จัตวา
สามารถเขียนตารางได้ดังนี้
เนื้อหาตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท 4.1 ม.1/1 อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย (เสียงในภาษาไทย), ม.4-6/1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา(เสียงในภาษาไทย)
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2550). ลักษณะภาษาไทย. ม.ป.ท.: ม.ป.พ. (สำเนา)
เว็บ
https://www.gotoknow.org/posts/424763
สามารถเขียนตารางได้ดังนี้
เนื้อหาตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท 4.1 ม.1/1 อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย (เสียงในภาษาไทย), ม.4-6/1 อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา(เสียงในภาษาไทย)
อ้างอิง
หนังสือภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2550). ลักษณะภาษาไทย. ม.ป.ท.: ม.ป.พ. (สำเนา)
เว็บ
https://www.gotoknow.org/posts/424763
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น